12601 : โครงการ Green Economy for all (โครงการธรรมชาติปลอดภัยแม่แจ่ม แม่ปาน-สันเกี๋ยงโมเดล)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2561
รองศาสตราจารย์ ดร.สมเกียรติ ชัยพิบูลย์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 20/6/2561 11:14:07
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการยุทธศาสตร์ (Go Eco U.)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/07/2561  ถึง  31/12/2561
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  85  คน
รายละเอียด  นักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ชั้นปีที่ 4 จำนวน 85 คน
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ไม่มีค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ 2561 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. สมเกียรติ  ชัยพิบูลย์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร. เกศสุดา  สิทธิสันติกุล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 1 การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
เป้าประสงค์ 61-64 MJU 1.5 พัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพตามอัตลักษณ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 61MJU1.5.2 ระดับความสำเร็จของแผนการจัดกิจกรรมนักศึกษา
กลยุทธ์ 61-64MJU 1.5.5 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดทำแผนพัฒนานักศึกษาที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัย ด้วยกระบวนการ PDCA
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 5 การเป็นศูนย์รวมแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น
เป้าประสงค์ 61-64MJU 5.1 การดำรงศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมการเกษตร
ตัวชี้วัด 61MJU5.1.5 ร้อยละของโครงการหรือกิจกรรมที่มีการบูรณาการเข้ากับพันธกิจอื่น
กลยุทธ์ 61-64MJU 5.1.7 ส่งเสริมและสนับสนุนให้งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือวัฒนธรรมการเกษตร มีการบูรณาการกับกิจกรรมนักศึกษา การเรียน การสอน และการวิจัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61ECON-1 การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
เป้าประสงค์ 61ECON 1.3 พัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพตามอัตลักษณ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 61ECON 1.5 ร้อยละความสำเร็จของแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
กลยุทธ์ 61ECON 1.3.5 จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เอื้อต่อการพัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ด้านการพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียน
กลยุทธ์ 61ECON 1.3.6 ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมที่สนองอัตลักษณ์ของคณะ
ตัวชี้วัด 61ECON 1.8 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการโครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ Green Economy
กลยุทธ์ 61ECON 1.3.6 ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมที่สนองอัตลักษณ์ของคณะ
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61ECON-5 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
เป้าประสงค์ 61ECON 5.1 ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด 61ECON 5.1 ร้อยละความสำเร็จของแผนทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
กลยุทธ์ 61ECON 5.1.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีโครงการ/กิจกรรมด้านทำนุบำรุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

โครงการ Green Economy for all (แม่ปาน -สันเกี๋ยงโมเดล) เป็นโครงการที่บูรณาการการเรียนการสอนในรายวิชา ศล464 (เทคนิคการประเมินมูลค่าทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม) ที่จะช่วยเสริมสร้างทักษะการประเมินมูลค่าทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การเรียนรู้ ประสบการณ์ รวมถึงจิตสำนึก ของนักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการประเมินมูลค่า การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งแม่ปาน-สันเกี๋ยง โมเดล เป็นโครงการที่น้อมนำศาสตร์ของพระราชา รัชกาลที่ 9 คือการระเบิดจากข้างใน:การเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา บนรากฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นหลักในการพัฒนาชุมชนด้วยรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและวิถีชีวิตชุมชน แบบมีส่วนร่วม ซึ่งนักศึกษาชั้นปีที่ 4 (ในเทอมที่ 1 ปีการศึกษา 1/2561) จะได้ประยุกต์องค์ความรู้ ในรายวิชา ศล464 สู่การปฏิบัติในพื้นที่จริง และได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสมาชิกในชุมชน โดยมีนักศึกษา จำนวน 85 คน ในระหว่าววันที่ 1 กรกฎาคม - 31 ธันวาคม 2561 ณ บ้านแม่ปาน - สันเกี๋ยง ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ ประสบการณ์ รวมถึงจิตสำนึก ของนักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้วยหลักศาสตร์ของพระราช รัชกาลที่ 9
เพื่่อให้นักศึกษาได้ประยุกต์ความรู้และปฏิบัติจริงในการประเมินมูลค่าทรัพยากร และมีความตระหนักถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมรวมถึงมีจิตอาสาในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้ประยุกต์ความรู้ในรายวิชา ศล464 ในการปฏิบัติพื้นที่จริง และได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เสริมสร้างทักษะ มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงได้เรียนรู้ศาสตร์ของพระราชา รัชกาลที่ 9
KPI 1 : นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินมูลค่าทรัพยากร และการเรียนรู้ศาสตร์ของพระราชา รัชกาลที่ 9
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ระดับ 3.51
KPI 2 : นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้ประยุกต์ความรู้ในรายวิชา ศล464 ในการปฏิบัติพื้นที่จริง และได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เสริมสร้างทักษะ มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงได้เรียนรู้ศาสตร์ของพระราชา รัชกาลที่ 9
ชื่อกิจกรรม :
นำนักศึกษาประยุกต์ความรู้สู่การปฏิบัติในพื้นที่จริง และได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสมาชิกในชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/07/2561 - 31/12/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.สมเกียรติ  ชัยพิบูลย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่มีค่าใช้ในการดำเนินกิจกรรม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล