12335 : โครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา ศึกษาดูงาน และบริการวิชาการ “สร้างบ้านแปงเมือง” : ภูมิทัศน์วัฒนธรรม พืชพรรณ การก่อสร้างและการออกแบบภูมิทัศน์บ้าน เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (61-1.3.5)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2561
นายณัฐภัทร ดาวสุข (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 8/3/2561 9:59:05
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
22/03/2561  ถึง  30/09/2561
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  73  คน
รายละเอียด  คณาจารย์ บุคลากร นักศึกษา และผู้นำชุมชนบ้านแม่ตะละและบ้านแม่แดดน้อย อำเภอกัลยานิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานพื้นฐาน
ผลผลิต ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรมสนับสนุนบริหารจัดการทั่วไป
แผนงานการเรียนการสอน
งานสนับสนุนการจัดการศึกษา
กองทุนกิจการนักศึกษา
งบเงินอุดหนุน
เงินอุดหนุนทั่วไป
โครงการตามภารกิจพัฒนางานเดิม (ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1)
2561 70,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อัจฉรี  เหมสันต์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
กองพัฒนานักศึกษา
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 1 การผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
เป้าประสงค์ 61-64 MJU 1.5 พัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพตามอัตลักษณ์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 61MJU1.5.3 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนานักศึกษา 5 ด้านตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. ก่อนสำเร็จการศึกษา
กลยุทธ์ 61-64MJU 1.5.3 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เอื้อต่อการพัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ ด้านการพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียนของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ 1-61-FAED ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาด้านการออกแบบสิ่งแวดล้อม เป็นที่ยอมรับในวงวิชาการและวิชาชีพ
เป้าประสงค์ 1.1-61-FAED บัณฑิตมีคุณลักษณะเป็น GOOD DESIGNER
ตัวชี้วัด 1FAED61-20 ร้อยละโครงการพัฒนานักศึกษาที่มีการบูรณาการด้านทักษะไอที ภาษา วิชาชีพ และทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ FAED-1.2.1-61 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บัณฑิตมีคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ (GOOD DESIGNER)
ตัวชี้วัด 1FAED61-19 ร้อยละโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์
กลยุทธ์ FAED-1.2.1-61 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บัณฑิตมีคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ (GOOD DESIGNER)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การจัดการเรียนการสอนในวิชาเอกหรือวิชาชีพเฉพาะ สาขาเทคโนโลยีภูมิทัศน์ มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะให้นักศึกษามีบทปฏิบัติการจริงภาคสนาม เพื่อพัฒนาความสามารถที่ตอบสนองความเป็นไปได้ในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง ดังนั้นในรายวิชา ภท231-การออกแบบภูมิทัศน์ 1 ภท281-ปฏิบัติการก่อสร้างภูมิทัศน์ 1 และ ภท253-วิชาวัสดุพืชพรรณสำหรับงานภูมิทัศน์ 2 จึงได้นำนักศึกษาปฏิบัติการภาคสนาม โครงการเรียนรู้ประสบการณ์ตรงในการประกอบวิชาชีพภูมิทัศน์ ได้เรียนรู้ สร้างเสริมทักษะ ฝึกปฎิบัติการออกแบบวางผังภูมิทัศน์บ้านชนเผ่า การเรียนรู้พืชพรรณท้องถิ่น และเรียนรู้ด้านการใช้ชีวิตกับท้องถิ่น ตลอดจนการศึกษาดูงาน และบูรณาการวิชาการ ร่วมกับคณะสารสนเทศและการสื่อสาร กองกิจการนักศึกษา และชุมชน ให้เกิดการพัฒนาทักษะวิชาชีพในสถานการณ์จริง บริการวิชาการสู่ชุมชน ทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรมท้องถิ่น การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการใช้ชีวิตตามบริบทพื้นที่ ฯลฯ อันเป็นเป้าหมายของการนำไปสู่การพัฒนาบัณฑิตที่มีคุณภาพ และเตรียมความพร้อมเข้าสู่ตลาดวิชาชีพในอนาคต

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
สร้างโอกาสให้นักศึกษา ครู ได้มีโอกาสปฏิบัติงานวิชาการแบบบูรณาการการเรียนการสอน การบริการวิชาการสู่ชุมชน ทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรมท้องถิ่น การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการใช้ชีวิตตามบริบทพื้นที่ ฯลฯ โดยความร่วมมือกับคณะสารสนเทศและการสื่อสาร กองกิจการนักศึกษา ชุมชนชนเผ่าม้ง-กระเหรี่ยง และองค์กรที่เกี่ยวข้อง
เรียนรู้ และฝึกทักษะปฏิบัติการออกแบบและวางผังภูมิทัศน์ระดับบ้าน ระดับชุมชน เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ สืบสานแนวคิดของศาสตร์พระราชา สู่การพัฒนาพื้นที่ชุมชนในสถานการณ์จริง ให้เกิดการใช้ประโยชน์ร่วมกันอย่างบูรณาการระหว่างชุมชนกับสถาบันการศึกษา
เพื่อเปิดวิสัยทัศน์การเรียนรู้ การตื่นตัวในการพัฒนาบุคลิกภาพทางความคิด ร่างกายและจิตใจของนักศึกษา และอาจารย์ ตลอดจนเป็นการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ที่ดีกับคณะสารสนเทศและการสื่อสาร ชุมชนบ้านแม่ตะละและบ้านแม่แดดน้อย การริเริ่มกิจกรรมใหม่ ๆ ที่เป็นนวัตกรรมทางความคิดสู่การพัฒนาองค์กรให้เข้มแข็ง ทันสมัยกับยุค 4.0 ในศตวรรษที่ 21
สร้างโอกาสให้นักศึกษา ครู เรียนรู้ถึงบริบททางสังคม วัฒนธรรม ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของพื้นที่ ในการสร้างเสริมประสบการณ์ แลกเปลี่ยนแนวคิด ระหว่างบุคลากร นักศึกษา กับ ชุมชนท้องถิ่น และหน่วยงานในพื้นที่
พัฒนาศักยภาพนักศึกษา ครู ด้านการใช้ชีวิต จิตอาสา และพัฒนาบทเรียน/องค์ความรู้ที่มีชีวิต สู่การสร้างสรรค์แนวคิดใหม่ ๆ ในสถานการณ์ของการเปลี่ยนแปลง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ฐานข้อมูล และผลงานออกแบบภูมิทัศน์สวนบ้าน เพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
KPI 1 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากกรับรับริการ
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ หน่วยงาน/องค์กร ที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70000 บาท 70000
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ฐานข้อมูล และผลงานออกแบบภูมิทัศน์สวนบ้าน เพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
ชื่อกิจกรรม :
พัฒนาศักยภาพนักศึกษา ศึกษาดูงาน และบริการวิชาการ "สร้างบ้านแปงเมือง" : ภูมิทัศน์วัฒนธรรม พืชพรรณ การก่อสร้างและการออกแบบภูมิทัศน์ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 22/03/2561 - 30/09/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อัจฉรี  เหมสันต์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าเบี้ยเลี้ยงบุคลากร จำนวน 6 คน x 240 บาท x 3 วัน = 4,320 บาท
2. ค่าเบี้ยเลี้ยงพนักงานขับรถ จำนวน 2 คน x 240 บาท x 3 วัน = 1,440 บาท
3. ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา จำนวน 65 คน x 100 บาท x 3 วัน = 19,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 25,260.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 25,260.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าที่พักบุคลากร จำนวน 6 คน x 400 บาท x 2 วัน = 4,800 บาท
2. ค่าที่พักพนักงานขับรถ จำนวน 2 คน x 400 บาท x 2 วัน = 1,600 บาท
3. ค่าที่พักนักศึกษา จำนวน 65 คน x 250 บาท x 2 วัน = 32,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 38,900.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 38,900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. น้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1 รายการ = 5,840 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,840.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,840.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 70000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล