12265 : โครงการบูรณนาการการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนในรายวิชา ศป 026 จิตวิทยาเชิงบวก: ปฏิบัติการสร้างเสริมอารมณ์เชิงบวกด้วยการทัศนศึกษาพุทธสถาปัตยกรรมล้านนาในเมืองเชียงใหม่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
อาจารย์พีรดา ประจงการ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 11/2/2561 21:28:45
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
12/02/2561  ถึง  22/02/2561
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  35  คน
รายละเอียด  นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนรายิชา ศป 026 จิตวิทยาเชิงบวก
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะศิลปศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ไม่มีเบิกจ่ายงบประมาณ 2561 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ พีรดา  ประจงการ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะศิลปศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
ด้านวิชาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2561 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 61-64MJU 5 การเป็นศูนย์รวมแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น
เป้าประสงค์ 61-64MJU 5.1 การดำรงศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมการเกษตร
ตัวชี้วัด 61MJU5.1.5 ร้อยละของโครงการหรือกิจกรรมที่มีการบูรณาการเข้ากับพันธกิจอื่น
กลยุทธ์ 61-64MJU 5.1.7 ส่งเสริมและสนับสนุนให้งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือวัฒนธรรมการเกษตร มีการบูรณาการกับกิจกรรมนักศึกษา การเรียน การสอน และการวิจัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2561] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA-61ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นและสิ่งแวดล้อมโดยมุ่งเน้นการพัฒนาที่ยั่งยืนและสังคมอุดมปัญญา
เป้าประสงค์ LA-61เป้าประสงค์ที่ 5.2มีการนำความรู้ด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นและสิ่งแวดล้อมไปบูรณาการกับการเรียนการสอน
ตัวชี้วัด LA61-5.2 จำนวนรายวิชาที่มีการนำความรู้ด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นและสิ่งแวดล้อมไปบูรณาการกับการเรียนการสอน
กลยุทธ์ LA-61-5.2 ส่งเสริมการนำความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นและสิ่งแวดล้อมไปบูรณาการกับการเรียนการสอน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

จิตวิทยาเชิงบวกเป็นรายวิชาที่มีจุดมุ่งหมายสำคัญคือการสร้างความตระหนักรู้ในคุณค่าและความสำคัญของการสร้างเสริมความสุขในชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีเชิงอัตวิสัย (Subjective Well-Being) ด้วยแนวคิดและทฤษฎีของจิตวิทยาเชิงบวกและมุ่งเน้นการฝึกปฏิบัิติการสร้างเสริมความสุขและความเป็นอยู่ที่ดีเชิงอัตวิสัย โดยเนื้อหาส่วนหนึ่งของรายวิชาจะเป็นการศึกษาอารมณ์เชิงบวกและฝึกปฏิบัติการสร้างเสริมอารมณ์เชิงบวก ได้แก่ ความสนใจ ความสำนึกในคุณงามความดีหรือซาบซึ้งใจ การรู้สึกได้รับแรงบันดาลใจ ภาคภูมิใจ และความรู้สึกว่าวิเศษ น่าทึ่ง เป็นต้น การมีอารมณ์เชิงบวกในระดับมากจะส่งผลให้บุคคลสามารถสร้างและขยายทุนทางปัญญา ทุนทางสังคม ทุนทางจิตใจและทุนทางกาย นำไปสู่การมีความสุขในชีวิตมากยิ่งขึ้น ผู้สอนจัดให้มีการบูุรณาการฝึกปฏิบัติการสร้างอารมณ์เชิงบวกกับการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมด้วยวิธีการศึกษานอกสถานที่คือการศึกษาศิลปวัฒนธรรมและพุทธสถาปัตยกรรมล้านนา (สถาปัตยกรรมวิหารล้านนา งานพุทธศิลป์ จิตรกรรมฝาผนัง) ซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นล้านนาที่มีคุณค่า ซึ่งแม้แต่ชาวต่างชาติก็ยังเห็นว่าเป็นสิ่งที่น่าวิเศษ ชวนให้เกิดความรู้สึกว่าน่าทึ่งจนเป็นที่กล่าวขานในวงกว้าง และด้วยวิธีการเช่นนี้จะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้้วิธีการสร้างอารมณ์ทางบวกและรับได้ประสบการณ์อารมณ์เชิงบวกโดยเฉพาะอารมณ์ที่เกิดจากการเร้าของสิ่งที่วิเศษ ยิ่งใหญ่ น่าทึ่ง (Awesome) ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันขณะ อีกทั้งยังเป็นการสร้างเสริมให้ผู้เรียนได้เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่นล้านนาและให้เกิดค่านิยมเชิงบวกต่อในศิลปวัฒนธรรม พุทธสถาปัตยกรรมล้านนา อันถือเป็นส่วนหนึ่งของการส่งเสริมการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมอีกด้วย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. ฝึกปฏิบัติการสร้างเสริมอารมณ์เชิงบวกด้วยการทัศนศึกษาศิลปวัฒนธรรมและพุทธสถาปัตยกรรมล้านนา
2. สร้างเสริมความตระหนักในการอนุรักษ์ศิลปวัฒธรรม พุทธสถาปัตยกรรมล้านนา
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : 1. ผู้เรียนสร้างเสริมอารมณ์ทางบวกได้
KPI 1 : ผู้เรียนสามารถฝึกปฏิบัติการสร้างเสริมอารมณ์เชิงบวกโดยผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ 80 ขึ้นไป
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
ผลผลิต : 2. ผู้เรียนมีความตระหนักในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม พุทธสถาปัตยกรรมล้านนา
KPI 1 : ผู้เรียนตระหนักในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม พุทธสถาปัตยกรรมล้านนา ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ 80 ขึี้นไป
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 0 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : 1. ผู้เรียนสร้างเสริมอารมณ์ทางบวกได้
ชื่อกิจกรรม :
แบ่งกลุ่มทัศนศึกษาพุทธสถาปัตยกรรมตามความสนใจ ซึ่งกลุ่มได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับวัดที่เลือกไว้ล่วงหน้าแล้ว (วัดที่ทัศนศึกษา ได้แก่ วัดเจดีย์หลวง วัดพระสิงห์ วัดเชียงมั่น วัดโลกโมฬี วัดดับภัย วัดพันเตา วัดศรีสุพรรณ วัดสวนดอก วัดเจ็ดยอด)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 17/02/2561 - 22/02/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์พีรดา  ประจงการ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ไม่มีเบิกจ่ายงบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ผลผลิต : 2. ผู้เรียนมีความตระหนักในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม พุทธสถาปัตยกรรมล้านนา
ชื่อกิจกรรม :
นำเสนอผลการฝึกปฏิบัติ แลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ และประเมินตนเองในประเด็นความตระหนักในคุณค่า ค่านิยม และการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม พุทธสถาปัตยกรรมล้านนา

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 22/02/2561 - 22/02/2561
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์พีรดา  ประจงการ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ไม่มีเบิกจ่ายงบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล