โครงการแข่งขันอินทนิลบอร์ดเกมส์ ครั้งที่ 1
Maejo Board Games
วันที่เริ่มต้น 26/12/2563 เวลา 8:30 วันที่สิ้นสุด 26/12/2563 เวลา 14:00
สถานที่จัด ห้องประชุมอาคม กาญจนประโชติ ชั้น 4 อาคารอำนวย ยศสุข มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ.เชียงใหม่ 

หน่วยงานที่จัด ผู้รับผิดชอบ ผู้เข้าร่วม
หน่วยงานที่จัด
คณะ/สำนัก องค์การนักศึกษา สาขา/กอง หน่วยงานภายใน  
ผู้รับผิดชอบหลัก
ไม่มีข้อมูล

ผู้รับผิดชอบหลัก (นักศึกษา)
6103103369   นางสาวอารีวรรณ   มาดหมาย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 12ชั่วโมง
6105101304   นายกฤษณะ   อ่อนละมูล : รัฐศาสตร์ 12ชั่วโมง
6105101414   นายอภิสิทธิ์   ธเนศวรสุวรรณ : รัฐศาสตร์ 12ชั่วโมง
6115123371   นางสาวนันญฤณ   พิมพา : พลังงานทดแทน 12ชั่วโมง
6218102358   นายพัศกรจรัส   คำแดง : การสื่อสารดิจิทัล 12ชั่วโมง
6306101304   นายกร   ธเนศวรสุวรรณ : การจัดการ 12ชั่วโมง
6314101327   นายณัฐวัฒน์   รินพล : นิเทศศาสตร์บูรณาการ 12ชั่วโมง
6314102397   นางสาวภคมน   เขียววัน : ภาษาอังกฤษ 12ชั่วโมง
6314102404   นางสาวมนัสชนก   เสริมศักดิ์วรกุล : ภาษาอังกฤษ 12ชั่วโมง
6314102413   นางสาวรัชวิภา   สว่างอารมณ์ : ภาษาอังกฤษ 12ชั่วโมง
6314102444   นางสาวสโรชา   พาพรหม : ภาษาอังกฤษ 12ชั่วโมง
หมากกระดานเป็นเกมกีฬาที่นอกจากจะให้ความสนุกแก่ผู้เล่นแล้ว ยังสามารถช่วยพัฒนาไอคิวได้เป็นอย่างดี เนื่องด้วยวิธีการเล่นที่สอนการจัดลำดับความคิดอย่างเป็นแบบแผน แฝงด้วยแง่คิดที่แยบยลซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตด้านการบริหาร หรือแม้แต่ทางธุรกิจก็สามารถต่อยอดไปสู่แนวคิดเชิงกลยุทธ์ทางธุรกิจได้ ยิ่งเล่นมากก็ยิ่งรู้มาก ดังมีผู้กล่าวถึงประโยชน์ของหมากกระดานไว้ว่า การเล่นหมากกระดานเป็นประจำจะช่วยพัฒนาทักษะทางปัญญา 11 ประการ ได้แก่
1) การวางแผน การตัดสินใจโดยใช้หลักเหตุผลมิใช่อารมณ์
2) ความสำเร็จจะเกิดได้จากการผสมผสานระหว่างนโยบาย กลยุทธ์ และยุทธวิธีที่ดีพร้อม
3) การปรับกลยุทธ์ตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ยอมรับความจริงและพร้อมที่จะปรับปรุง
4) ผู้ที่ไม่พัฒนาย่อมล้าหลังและล่มสลายไปในที่สุด คือ เราควรใช้ทรัพยากรทั้งหลายไปในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งของเรา จะทำให้เรา ทิ้งห่างคู่ต่อสู้ไปได้เอง ไม่ควรใช้ทรัพยากรไปในทางทำลายล้างฝ่ายตรงข้าม เพราะ “กำลัง” ที่มุ่งใช้ในการทำลายล้างมักมีปฏิกิริยาย้อนกลับรุนแรง
5) การแบ่งสรรปันส่วน : ได้อย่างก็ต้องเสียอย่าง ไม่มีทางได้ทั้งหมด เมื่อได้มาก็ต้องเสียไป เมื่อเสียไปแล้วค่อยหาทางได้กลับมา
6) การจัดลำดับความสำคัญของงานต่าง ๆ โดยเฉพาะงานด่วนต้องทำก่อนงานใหญ่เสมอ
7) การจัดดุลยภาพระหว่างเรื่องราวต่าง ๆ ที่เราต้องเกี่ยวข้องในชีวิต เสมือนการดูแลสนามรบ “อย่าชนะสนามรบแต่แพ้สงคราม”
8) ศึกษา “กำลัง” ที่เกิดจากการรวมตัว เป็นกลุ่มของหมากกระดาน การเปรียบเทียบกำลัง สะสมกำลัง การป้องกันการเสื่อมสลายและสุดท้ายคือการใช้ “กำลัง” อย่างมีธรรมะเพื่อสร้างสรรค์
9) การรู้จักประมาณและเคารพผู้อื่นในฐานะที่ต่างก็มีโอกาสเท่าเทียมกัน
10) เมื่อผู้เล่นทั้ง 2 ฝ่ายมีฝีมือทัดเทียมกัน คนแพ้ก็คือ คนที่ทำผิดมากกว่าจึงฝึกให้มีความสุขุมรอบรอบ ควบคุมตัวเองให้ทำผิดน้อยที่สุด รู้จักอดทนอดกลั้น โดยพยายามประคองตัวเองเมื่อเพลี่ยงพล้ำ และแม้ว่าจะแพ้ก็ให้ประโยชน์ในด้านการเตือนสติด ให้สำรวจตัวเองว่า เราได้ทำอะไรบ้าง จุดบกพร่องของเราอยู่ที่ไหน
11) ช่วยให้เข้าใจเรื่องความเปลี่ยนแปลง อันเป็นสัจธรรมของธรรมชาติและสิ่งทั้งหลายตามเหตุปัจจัยไม่ยึดติด ช่วยยกระดับจิตให้เข้าถึงความสงบ อันเป็นคุณภาพจิตขั้นสูงสุด
จากคุณประโยชน์ของหมากกระดานที่กล่าวมาในข้างต้น ชมรมบอร์ดเกม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้เล็งเห็นความสำคัญและต้องการเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างเยาวชนคนรุ่นใหม่ที่มีความพร้อมทั้งความฉลาดทางปัญญา (IQ : Intelligent Quotient), ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ : Emotion Quotient) คุณธรรม(MQ : Moral Quotient) และความอดทนต่อสถานการณ์อันไม่พึงประสงค์ (AQ : Adversity Quotient) จึงมีความประสงค์จะจัดโครงการแข่งขันอินทนิลปอร์ดเกมส์ ครั้งที่ 1 ขึ้น เพื่อให้นักศึกษาทั่วไปได้เห็นถึงความสำคัญของกีฬาหมากฮอส หมากรุกไทย และหมากล้อม เป็นเวทีประลองฝีมือให้กับนักศึกษา เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจ และเป็นการหาตัวนักกีฬาของมหาลัยแม่โจ้ ที่จะสามารถเป็นตัวแทนนักกีฬาหมากกระดานส่งเข้าแข่งขันกีฬาในระดับทั้งระดับมหาวิทยาลัย ระดับประเทศ หรือการแข่งขันระดับอื่น ๆ
รายละเอียดเพิ่มเติม
ตอนที่ 1 รายละเอียด
ประเภท/ลักษณะงาน ไม่ระบุ
เกี่ยวข้องกับกิจกรรม ไม่ระบุ
ระดับ ในสถาบัน
ปริมาณงานทั้งหมด 6  
เป้าหมายผู้เข้าร่วม 70 คน
จำนวนผู้เข้าร่วม   ไม่ระบุ คน
ตอนที่ 2 รายรับ-รายจ่าย
รายรับ   ไม่ระบุ บาท
มูลค่ารายรับ   ไม่ระบุ บาท
ค่าใช้จ่าย ไม่ระบุ บาท
มูลค่าค่าใช้จ่าย   ไม่ระบุ บาท
ตอนที่ 3 ผลการดำเนินงาน
ไม่ระบุ
ตอนที่ 4 สอดคล้องสมรรถนะ
ประเภทสมรรถนะ
ตอนที่ 5 เอกสารอ้างอิง
ตอนที่ 6 ภายใต้โครงการ
ตอนที่ 7 ภายใต้งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 8 การบูรณาการ
ไม่มีข้อมูล