Microsoft teams classroom
วันที่เขียน 24/9/2563 14:29:20     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 25/4/2567 9:10:38
เปิดอ่าน: 3602 ครั้ง

ปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง ซึ่งการนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อการเรียนการสอนเป็นสิ่งสำคัญและมีความจำเป็นในยุคปัจจุบันและอนาคต Microsoft (MS) teams ถูกนำมาใช้ ในการสร้างชั้นเรียนและบริหารจัดการเรียนการสอนผ่านช่องทางออนไลน์ นอกจากนี้ ผู้สอนยังสามารถบันทึกวิดีโอการสอนแล้วแจกจ่ายให้ผู้เรียน โดยสามารถจำกัดสิทธิการเข้าถึงได้ ถ่ายทอดสดการสอนผ่านระบบ Video Conference ด้วย Microsoft teams และสามารถสร้างและใช้งานห้องเรียนออนไลน์ เช่น การแจกจ่ายเอกสารประกอบการสอน การสนทนา การสร้างกระดานถามตอบ การมอบหมายงานหรือสั่งการบ้าน การตรวจงาน การสร้างแบบทดสอบ และการให้คะแนน เป็นต้น ซึ่ง Microsoft team เป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดีมากยิ่งขึ้นได้

Microsoft teams  classroom

       จากการเข้าร่วมอบรมโครงการ Modernize working with office 365 ในวันอังคารที่ 26 พฤษภาคม 2563  ในช่วงบ่าย เวลา 13.30-16.00 น. ในหัวข้อเรื่อง  Microsoft teams classroom สำหรับบุคลากรสายวิชาการ โดยการอบรมจัดในรูปแบบออนไลน์ โดยมีวิทยากรบรรยายคือ คุณธนชาติ วิวัฒนภูติ  บริษัท ลานนาคอม จำกัด  ทำให้ได้รับความรู้เกี่ยวกับการใช้งาน Microsoft teams  เนื่องจากในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง ซึ่งการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอนเป็นสิ่งสำคัญและมีความจำเป็นในยุคปัจจุบันและอนาคต  ซึ่ง Microsoft (MS) teams ถูกออกแบบมาเพื่อเป็นสื่อกลางในการทำงานในด้านต่างๆ เช่น การติดต่อสื่อสาร การนัดหมาย การประชุม การประกาศและติดตาม ข่าวสาร การติดตามงานหรือโครงการต่าง ๆ เป็นต้น โดยเป็นเหมือนศูนย์กลางในการเข้าถึงบริการต่าง ๆ ที่มีอยู่ในตัวระบบ Office 365 เช่น จัดการการสนทนา ไฟล์และเครื่องมือทั้งหมดในพื้นที่ทำงานของทีมในที่เดียวกัน รวมทั้งสามารถเข้าถึงและใช้ร่วมกันสำหรับแอปพลิเคชันต่าง ๆ ใน Microsoft office รวมถึง PowerPoint, Word, Excel, Planner, OneNote, SharePoint, Delve และ Power BI  ซึ่งสามารถสร้างและแก้ไขเอกสารได้โดยตรงจากใน App  เราสามารถใช้ MS Teams ในการสร้างชั้นเรียนและบริหารจัดการเรียนการสอนผ่านช่องทางออนไลน์ นอกจากนี้ ผู้สอนยังสามารถบันทึกวิดีโอการสอนแล้วแจกจ่ายให้ผู้เรียน โดยสามารถจำกัดสิทธิการเข้าถึงได้ ถ่ายทอดสดการสอนผ่านระบบ Video Conference ด้วย Microsoft teams และสามารถสร้างและใช้งานห้องเรียนออนไลน์  เช่น การแจกจ่ายเอกสารประกอบการสอน การสนทนา การสร้างกระดานถามตอบ การมอบหมายงานหรือสั่งการบ้าน การตรวจงาน การสร้างแบบทดสอบ และการให้คะแนน เป็นต้น   

 

การใช้ Microsoft teams เพื่อการเรียนการสอน

 

คุณลักษณะของ Microsoft teams

          Microsoft teams สามารถสร้างทีมเป็นห้องเรียนออนไลน์  (e-classroom) สร้างทีมเป็นกลุ่ม project สร้าง channel เป็นกลุ่มย่อยในทีม สามารถ chat และโพสต์ ได้คล้าย Facebook แลกเปลี่ยนไฟล์ อัพโหลดเอกสารประกอบการสอน สั่งการบ้าน assignment กำหนดวัน/เวลา ส่งและตรวจให้คะแนนได้ สั่ง quiz ที่ตรวจให้คะแนนอัตโนมัติได้  ทำ Video conference ได้ถึง 250 คน สามารถปิดเสียงทุกคนในห้องเรียนได้  ถ่ายทอดสดหน้าจอ หรือเลือกเฉพาะ Apps เช่น ถ่ายทอดเฉพาะ Powerpoint  อนุญาตให้บันทึกการสอนแล้วเก็บไว้ใน Microsoft OneDrive ที่สามารถจำกัดสิทธิได้  สามารถทำ Live event ถ่ายทอดสดทางเดียวที่รองรับได้ถึง 10,000 คน (จำกัดให้สร้างได้ 15 Live events พร้อมๆ กันเท่านั้น คือสามารถสอนด้วย Live events นี้ 15 วิชาพร้อม ๆ กัน จึงเหมาะกับ class ขนาด ใช้ได้ทั้งผ่าน web และติดตั้งแอพลิเคชัน ถ้าติดตั้งแอพลิเคชันสามารถถ่าย conference แบบหน้าชัดหลังเบลอได้  ใช้ MS planner, MS office, MS OneNote และ MS Whiteboard ร่วมกันใน team ได้

คุณธนชาติ วิวัฒนภูติ  บริษัท ลานนาคอม จำกัด ได้บรรยายถึงกระบวนการในการเรียนการสอนในยุคดิจิทัลปัจจุบัน ได้แก่ การเตรียมการเรียนการสอนดิจิทัล การจัดการห้องเรียนดิจิทัล  การมอบหมายงานและแบบทดสอบดิจิทัล  และการวิเคราะห์ห้องเรียนดิจิทัล เป็นต้

การใช้งาน Microsoft Teams

การ Download และเข้าใช้งาน Microsoft Teams ดังนี้

- ทำการดาวน์โหลดโปรแกรม โดยเข้าไปที่ http://teams.microsoft.com/downloads จากนั้นเลือก Download Teams

- ตัวโปรแกรมจะถูกดาวน์โหลดลงมาเก็บไว้บนเครื่อง สามารถ Click เพื่อทำการติดตั้งได้ทันที

- เมื่อติดตั้งเสร็จเรียบร้อยแล้ว ตัวโปรแกรม จะแสดงอยู่บน Desktop มีลักษณะเป็นรูปคนสองคนและมีตัว T กำกับอยู่  สามารถ Click เพื่อเข้าสู่ตัวโปรแกรมได้

- การใช้งาน Microsoft teams ทำได้โดยลงชื่อเข้าเว็บไซต์ Office 365 ด้วยชื่อบัญชีของที่ทำงานหรือสถานศึกษาจากนั้นบนหน้า Home ของ Office 365 ให้ Click Teams

- หลังจาก Click ไอคอน Teams ที่ปรากฏอยู่บน Desktop จะมีหน้าต่างแสดงข้อความต้อนรับ ให้ Click ที่ Continue

- กรอก User name แล้ว Click Next

- กรอก Password แล้ว Click ที่ Sign in

- จะเข้าสู่หน้าโปรแกรม Teams บน Desktop App โดยหน้าแรกของ Teams จะแสดงขึ้นมาตามภาพ

 

การสร้างห้องเรียนใน Microsoft teams classroom มีดังนี้

     - เข้าเวบไซต์ office.com

     - ลงชื่อ (sign in) โดยกรอกข้อมูลชื่อผู้ใช้ และ รหัสผ่าน ของมหาวิทยาลัย

     - เลือก Team

     - เลือก Join or create team

     - เลือก create a team

     - เลือกประเภททีม คือ Class

     - ใส่ชื่อ Team

     - จะปรากฏชื่อห้องเรียนต่าง ๆ

 

การเชิญนักศึกษาเข้าชั้นเรียน

การเพิ่มผูู้เรียนเข้าสู่ห้องเรียนรายวิชาเสมือน ผู้สอนสามารถเพิ่มผู้เรียนเข้าสู่ห้องเรียนได้ด้วยตนเอง โดยมีวิธีการดังนี้Click ที่ไอคอน Teams จากนั้นเลือกรายวิชาที่ต้องการ

      - Click เลือกไอคอน จุดสามจุด ... หลังชื่อรายวิชา แล้วเลือกที่ Manage team

      - จากนั้นเลือกไปที่แท็บ Member แล้ว Click ที่ปุุ่ม Add member

      - จะปรากฏหน้าจอให้ทำการกรอกอีเมลล์ของผู้เรียนที่ต้องการเพิ่มเข้าห้อง จากนั้น Click ปุ่ม Add ผู้เรียนจะ ถูกเพิ่มเข้ามายังห้องเรียนเรียบร้อย

 

การเชิญนักศึกษาเข้าชั้นเรียนโดยใช้ Team code

วิธีการสร้าง Team Code โดย Owner ของทีม

เปิด  Microsoft 365 / Office 365  ขึ้นมาโดยการ  login  ด้วย  username  ผ่านทาง www.office.com 

จากนั้นเปิดMicrosoft Teams ผ่านหน้าเว็บ browser หรืออาจจะเปิดผ่านทาง Microsoft Teams  Desktop Client

หน้าแรกของ Office 365 / Microsoft 365 หน้าต่างของ Microsoft Teams เมื่อเปิดบริการขึ้นมา

     - เลือกทีมที่ตนเองสร้างไว้ที่ต้องการจะสร้าง Team Code จากนั้น กดตรง “More Options” ซึ่งปุ่มมีลักษณะเป็น จุดสามจุด (…) เพื่อเปิดตัวเลือกของทีมขึ้นมา จากนั้นเลือก menu “Manage team”

     - เมื่อเข้ามาใน menu การจัดการทีมแล้ว ให้เลือก menu การตั้งค่า หรือ “Settings” 

     -  กดเลือกหัวข้อตัวเลือก “Team code” จากนั้น กดปุ่ม “Generate” เพื่อสร้าง code ที่ใช้ในการเชิญเข้าร่วมทีมที่ท่านเลือก

     - ระบบจะสร้าง Team code ซึ่งเป็นการผสมกันระหว่างตัวอักษรและตัวเลข พร้อมเมนูย่อย สำหรับจัดการ Team Code ที่สร้างขึ้น เช่น Full Screen: เพื่อเปิด Team Code ขึ้นขนาดใหญ่เต็มจอ สำหรับใช้ในห้องประชุม ห้องเรียน Reset: การ reset รหัส Team Code ใหม่ Remove: การลบ Team Code ที่ใช้งานอยู่ Copy: เพื่อคัดลอก Team Code ไปยัง clipboard เพื่อนำไปใช้ต่อไป

 

ข้อสังเกต

  1. การใช้ Team Code ควรเปิดใช้งานในเวลาที่จำเป็นและปิดการใช้งานเมื่อเชิญสมาชิกเข้าทีมครบแล้ว เพื่อเหตุผลด้านความปลอดภัยในการเข้าถึง ยกเว้นจะเปิดให้เข้าถึงในรูปแบบ public
  2. เมื่อผู้ใช้กดเข้ามาผ่านทาง Team Code จะได้รับสิทธิ์เป็น Member ของทีม
  3. ในการเข้าร่วมทีมผ่าน Team Code จะได้สามารถกดเข้าร่วมได้เลย โดยไม่มีการ verify อื่นๆ จึงจำเป็นต้องระมัดระวังในการใช้งานในกลุ่มที่ต้องการ Private Team เนื่องด้วยลักษณะของกลุ่มและข้อมูลภายใน

 

การสร้างตารางสอน

การนัดสอนเพิ่มเติมผ่าน Video Conference (Teams Meeting) การนัดสอนเพิ่มเติมจากตารางสอนปกติที่ทางมหาวิทยาลัยกำหนดไว้ให้

Click ที่ไอคอน Calendar เลือกที่ New meeting

ทำการกรอกรายละเอียดห้องเรียนที่สร้างเพิ่มเติม

      ก. กรอกหัวข้อในการเรียนการสอนที่ต้องการ ข. กำหนด วัน/เวลา ที่ต้องการนัดสอน ค. เลือกรายวิชาที่ต้องการนัดสอน

      - ตารางนัดสอนเพิ่มเติมจะแสดงขึ้นบน Calendar ของผู้สอนและของผูhเรียนทุกคนที่อยู่ในรายวิชาที่เลือก              

      - รายวิชาที่นัดสอนออนไลน์เพิ่มเติม จะขึ้นแสดงที่ห้องเรียนในแต่ละรายวิชาเช่นกัน

 

สื่อการเรียนการสอนออนไลน์

สื่อการเรียนการสอนแบบเดิมจะเป็นเอกสาร หรือใช้เครื่องฉายขึ้นจอภาพ  แต่สื่อการเรียนการสอนออนไลน์อาจจัดทำขึ้นในรูปแบบ Powerpoint  หรือใช้กล้องถ่ายวีดีโอแล้ว สามารถนำสื่อที่เตรียมไว้มา upload เข้า Microsoft teams ได้

การสอนออนไลน์ หลังจากที่ระบบจะทำการสร้างห้องเรียนเสมือนในแต่ละรายวิชาให้โดยอัตโนมัติเรียบร้อยแล้ว หากต้องการเข้าทำการสอนออนไลน้ สามารถทำได้ดังนี้

- Click ที่ไอคอน Calendar จะปรากฏรายวิชาทั้งหมดที่ผู้สอนต้องทำการสอนทั้งหมดในภาคการศึกษา ป้จจุบัน โดยจะแสดงวันเวลาที่ต้องทำการสอนตามตาราง Calendar ซึ่งเมื่อถึงเวลาสอน ปุ่ม Join จะ แสดงขึ้นมา ให้ทำการ Click Join เพื่อเข้าสู่การสอนออนไลน์ในรายวิชาที่ต์องการ

- Click Join Now

- เมื่อเข้าสู่ห้องเรียนออนไลน์ จะปรากฎหน้าจอดังภาพหากต้องการดูรายชื่อผู้เรียนที่เข้าเรียนออนไลน์ ณ ป่จจุบัน สามารถ Click ที่ปุ่มไอคอนรูปคนสองคน ซึ่งอยู่บนแท็บ Toolbar รายชื่อผู้เรียนจะแสดงขึ้นมาทางขวามือของ

หน้าจอ

- ฟังก์ชัน/เมนูสำหรับการใช้งานในการสอนออนไลน์ เมื่อเข่าสู่หน้าจอการสอนออนไลน์เรียบร้อยแล้ว ฟังก์ชันการใช้งานที่สำคัญในการสอนออนไลน์มีดังนี้

ก. เวลาในการใช้งานห้องเรียนออนไลน์ ข. เปิด/ปิดกล้อง  ค. เปิด/ปิดไมโครโฟน ง. แชร์หน้าจอ จ. ยกมือ (หากมีคำถาม) ฉ.  แชท (ถาม/ตอบ) ช. รายชื่อผู้เข้าร่วมในห้องเรียนออนไลน์ ซ. ออกจากห้องเรียนออนไลน์ ญ. ตั้งค่าอุปกรณ์ เช่น ไมโครโฟน กล้อง ฎ. ขยายหน้าจอแบบเต็มจอ ฏ. เลือกภาพพื้นหลังที่ต้องการ (หากมีการเปิดกล้อง) ฐ. ทำเริ่มการบันทึกการเรียนการสอน ฑ. ปิดห้องเรียน (ผู้เรียนทุกคนจะถูกบังคับออกจากห้องเรียนอัตโนมัติ)

 

การแชร์หน้าจอ สำหรับผู้สอน

ผู้สอนสามารถทำการแชร์หน้าจอได้ด้วยการกดปุ่ม Share Screen แล้วทำการเลือกแชร์ Desktop หาข้อมูลที่

ต้องการแชร์มีคลิปวิดีโอ หรือมีเสียงให้ทำการ Click ที่ Include system audio ด้วย

การให้สิทธิ์ผู้เรียนเพื่อทำการแชร์หน้าจอในการนำเสนอผลงาน (Make a presenter)

เปิดรายชื่อผู้เรียนในห้องสอนออนไลน์ Click เลือกผู้เรียนที่ต้องการให้นำเสนอ แล้ว Click จุดสามจุด

ด้านหลังชื่อผู้เรียน แล้วกำหนดสิทธิ์ผู้เรียนให้มีสิทธิ์เป็น Presenter โดยเลือกเมนู Make a presenter หลังจากนั้นผู้เรียน จะสามารถแชร์หน้าจอในห้องเรียนออนไลน์ได้  เมื่อผู้เรียนทำการนำเสนอผลงานเสร็จเรียบร้อย สามารถกำหนดสิทธิ์ผู้เรียนกลับเป็น Attendee ดังเดิม ได้ โดย Click ที่จุดสามจุดเช่นเดิม แล้วเลือกที่เมนู Make an attendee

 

การปิดเสียงผู้เรียนทั้งหมดในห้องเรียน (Mute all)

สามารถปิดไมโครโฟนผู้เรียนทั้งหมดในห้องเรียนออนไลน์ได้ โดย  Click ที่ปุ่ม Mute all (แต่ไม่สามารถเปิดไมโครโฟนผู้เรียนได้)

 

การ Download รายชื่อผ้เรียนที่เข้าเรียนในห้องเรียนออนไลน์

          สามารถ Download รายชื่อผู้เรียนที่เข้าเรียนได้โดย  Click  ที่ปุุ่ม Download  การ Download  รายชื่อ

ผู้เข้าเรียนต้อง Download ก่อนการจบการเรียนการสอน เนื่องจากหากปิดห้องเรียนไปแล้ว และ ไม่มีคนอยู่ในห้องแล้วเข้ามาใหม่จะไม่สามารถ Download รายชื่อได้

 

การบันทึกการสอน และการดูวิดีโอย้อนหลัง  ในการเรียนการสอน ผู้สอนสามารถบันทึกวิดีโอได้ โดยมีวิธีการดังนี้

- เข้าหน้าการสอนออนไลน์ จากนั้น Click เลือกที่จุดสามจุด... แล้วเลือกที่ Start recording

- ระบบจะโชว์ไอคอนวงกลมสีแดง แสดงให้เห็นว่ากำลังบันทึกอยู่ รวมไปถึงแจ้งเตือนในแท็บด้านบนว่ามีผู้บันทึกวิดีโอ

- เมื่อต้องการหยุดบันทึกวิดีโอ ให้ Click ที่จุดสามจุด ... แล้วเลือก Stop recording

- สามารถเข้าไปที่แท็บ Chat ด้านซ้ายมือ แล้วทำการเลือกการสอนออนไลน้ที่ได้ทำการสอนไปเรียบร้อย แล้วจะเห็นว้ามีวิดีโอแสดงอยู่

หรือเมื่อเริ่มสอนสามารถกดปุ่ม Meet เริ่มสอน หรือเริ่มประชุมได้เลย โดยไม่เข้าผ่านตารางสอนหากจะออก

จากห้อง หรือออกจากห้องประชุมก็ Click รูปโทรศัพท์  Hang up เพื่อออกจากห้องสอน หรือห้องประชุม

 

การ upload สื่อการเรียนการสอนเข้าห้องเรียน

การแชร์เอกสารประกอบการเรียนการสอน ผู้สอนสามารถแชร์เอกสารประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาได้

โดยมีวิธีดังนี้

- Click ที่ไอคอน Teams จากนั้นเลือกรายวิชาที่ต้องการ

- เปิดรายวิชาที่ต้องการ แล้ว Click เลือกที่แท็บ Files จากนั้น Click ปุ่ม Upload และเลือกเอกสารที่ต้องการ

- เอกสารที่ทำการอัพโหลด จะปรากฏในหน้าจอด้านล่าง

 

การ upload VDO  เข้า Microsoft stream  ดังนี้

  • Click ปุ่ม ... ที่ด้านซ้ายมือของหน้าต่าง Microsoft team
  • Click เลือก stream
  • Click Microsoft stream
  • Click ที่รูปลูกศรชี้ขึ้น upload video
  • เลือกไฟล์วีดีโอที่จะ upload จากนั้น Click browse หรือลากไฟล์วีดีโอมาวาง
  • จะปรากฏไฟล์วีดีโอที่หน้าหน้าต่าง Microsoft teams ในเมนู Posts

 

การมอบหมายงาน และแบบทดสอบดิจิทัล (Virtual Classroom)

การมอบหมายงานและการสั่งการบ้าน (Teams assignment) สามารถมอบหมายงานหรือสั่งการบ้านให้กับผู้เรียนได้ โดยมีวิธีการดังนี้

 

  • Click ที่ไอคอน Teams จากนั้นเลือกรายวิชาที่ต้องการ

-เลือกแท็บ Assignment และกดปุ่ม Create เพื่อสร้างการบ้านออนไลน์ให้กับผู้เรียน

- เลือกที่ Assignment

-กรอกข้อมูลการบ้านที่ต้องการให้ผู้เรียนทำให้ครบถ้วน แล้ว Click ปุ่ม Assign

  • Click เข้าไปที่การบ้านเพื่อดูการบ้านที่ผู้เรียนส่งมาได้ ก. Turned in : ส่งการบ้านแล้ว ข. Not turned in : ยังไม่ได้ส่งการบาน ก. Viewed : เข้าดูการบ้านแล้ว แต่ยังไม่ได้ส่งการบ้าน

Turned in xx hours late : ส่งการบ้านแล้ว แต่ส่งช้า

  • จากนั้น Click ดูการบ้านของผู้เรียนแต่ละคน

 

การตรวจการบ้าน สามารถเข้าดูการบ้านที่ผู้เรียนทำส่งแล้ว ได้ดังนี้

- Click ที่ไอคอน Teams จากนั้นเลือกรายวิชาที่ต้องการ

- เข้าไปยังรายวิชาที่ต้องการ เลือกแท็บ Assignment และเลือกใบงานที่ต้องการตรวจ

- Click เลือกใบงานของผู้เรียนคนที่ต้องการตรวจ

- ทำการตรวจการบ้าน และให้คะแนนตามความเหมาะสม แล้วกดปุ่ม Return

- ใบงานของผู้เรียนคนที่ตรวจเรียบร้อยแล้ว จะแสดงในแท็บ Graded (ซึ่งผู้เรียนจะเห็นข้อความที่ผู้สอนได้ผู้สอนสามารถ comment และคะแนนที่ได้รับ)

การตรวจแบบทดสอบ/ข้อสอบ สามารถเข้าดูแบบทดสอบ/ข้อสอบที่ผู้เรียนทำส่งเรียบร้อยแล้ว ได้ดังนี้

- Click ที่ไอคอน Teams จากนั้นเลือกรายวิชาที่ต้องการ

- เข้าไปยังรายวิชาที่ต้องการ เลือกแท็บ Assignment และเลือกแบบทดสอบ/ข้อสอบ ที่ต้องการตรวจ

- Click เลือกแบบทดสอบ/ข้อสอบของผู้เรียนคนที่ต้องการตรวจ

- ทำการตรวจแบบทดสอบ โดยในแบบทดสอบจะมีการกำหนดคะแนนไว้ให้เรียบร้อยแล้วตอนสร้าง แบบทดสอบใน Microsoft Forms ส่วนขอที่ผู้เรียนต้องเขียนคำอธิบาย ผู้สอนต้องเข้าไปตรวจและกรอก คะแนนเพิ่มเติม

- แบบทดสอบ/ข้อสอบของผูเรียนคนที่ตรวจเรียบร้อยแล้ว จะแสดงในแท็บ Graded (ซึ่งผู้เรียนจะเห็น ข้อความที่ผู้สอนได้ comment และคะแนนที่ได้รับ

- สมุดคะแนน Teams Grade ผู้สอนสามารถดูเกรดของผู้เรียนทั้งหมดในรายวิชา โดยแยกเป็นการบ้าน และแบบทดสอบได้ โดยมีวิธีการดังนี้

          - เข้าไปยังรายวิชาที่ต้องการ เลือกแท็บ Grades หน้าจอจะแสดงรายละเอียดคะแนนของผู์เรียนทุกคนใน รายวิชา

-การนำผลคะแนนออกในรูปแบบไฟล์ .CSV ผู้สอนสามารถ Export ผลคะแนนของผู้เรียนได้ โดยมีวิธีการดังนี้

- เข้าไปยังรายวิชาที่ต้องการ เลือกแท็บ Grades หน้าจอจะแสดงรายละเอียดคะแนนของผู้เรียนทุกคนใน รายวิชา

- Click ปุม Export to Excel ระบบจะ Export ข้อมูลออกมาในรูปแบบไฟล์ .csv

 

การวิเคราะห์การเรียนการสอนในห้องเรียนเสมือน (Teams Insights)

การวิเคราะห์ข้อมูลการเรียนการสอน ในการเรียนการสอนผ่าน Microsoft Teams สามารถทำการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนการสอนได้  โดยการ ใช้ Apps เพิ่มเติมที่เรียกว่า Insight เข้ามาชาวยในการ

วิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งมีวิธีการใช้งานดังนี้

- Click ที่ไอคอน Teams จากนั้นเลือกรายวิชาที่ต้องการ

- เพิ่ม Apps “Insight” เข้าสู่ห้องเรียนในรายวิชา โดยเปิดรายวิชาที่ต้องการขึ้นมา แล้ว Click ปุ่ม + ในแท็บที่อยู่ด้านบนของหน้าจอ

- ค้นหา Apps ชื่อ “Insight” จากนั้น Click เลือกที่ตัว Apps Insight

- กดปุ่ม Add เพื่อเพิ่ม Insight เข้าสูหน้ารายวิชา

- Click Save

     

การนัดสอนเพิ่มเติมผ่าน Video Conference (Teams Meeting) การนัดสอนเพิ่มเติมจากตารางสอนปกติที่ทางมหาวิทยาลัยกำหนดไว้ให้

  • Click ที่ไอคอน Calendar เลือกที่ New meeting
  • ทำการกรอกรายละเอียดห้องเรียนที่สร้างเพิ่มเติม

ก. กรอกหัวข้อในการเรียนการสอนที่ต้องการ ข. กำหนด วัน/เวลา ที่ต้องการนัดสอน เลือกรายวิชาที่ต้องการนัดสอน

- ตารางนัดสอนเพิ่มเติมจะแสดงขึ้นบน Calendar ของผู้สอนและของผู้เรียนทุกคนที่อยู่ในรายวิชาที่เลือก

- รายวิชาที่นัดสอนออนไลน์เพิ่มเติม จะขึ้นแสดงที่ห้องเรียนในแต่ละรายวิชาเช่นกัน

 

Microsoft teams  classroom

จากการเข้าร่วมอบรมโครงการ Modernize working with office 365 ในวันอังคารที่ 26 พฤษภาคม 2563  ในช่วงบ่าย เวลา 13.30-16.00 น. ในหัวข้อเรื่อง  Microsoft teams classroom สำหรับบุคลากรสายวิชาการ โดยการอบรมจัดในรูปแบบออนไลน์ โดยมีวิทยากรบรรยายคือ คุณธนชาติ วิวัฒนภูติ  บริษัท ลานนาคอม จำกัด  ทำให้ได้รับความรู้เกี่ยวกับการใช้งาน Microsoft teams  เนื่องจากในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง ซึ่งการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอนเป็นสิ่งสำคัญและมีความจำเป็นในยุคปัจจุบันและอนาคต  ซึ่ง Microsoft (MS) teams ถูกออกแบบมาเพื่อเป็นสื่อกลางในการทำงานในด้านต่างๆ เช่น การติดต่อสื่อสาร การนัดหมาย การประชุม การประกาศและติดตาม ข่าวสาร การติดตามงานหรือโครงการต่าง ๆ เป็นต้น โดยเป็นเหมือนศูนย์กลางในการเข้าถึงบริการต่าง ๆ ที่มีอยู่ในตัวระบบ Office 365 เช่น จัดการการสนทนา ไฟล์และเครื่องมือทั้งหมดในพื้นที่ทำงานของทีมในที่เดียวกัน รวมทั้งสามารถเข้าถึงและใช้ร่วมกันสำหรับแอปพลิเคชันต่าง ๆ ใน Microsoft office รวมถึง PowerPoint, Word, Excel, Planner, OneNote, SharePoint, Delve และ Power BI  ซึ่งสามารถสร้างและแก้ไขเอกสารได้โดยตรงจากใน App  เราสามารถใช้ MS Teams ในการสร้างชั้นเรียนและบริหารจัดการเรียนการสอนผ่านช่องทางออนไลน์ นอกจากนี้ ผู้สอนยังสามารถบันทึกวิดีโอการสอนแล้วแจกจ่ายให้ผู้เรียน โดยสามารถจำกัดสิทธิการเข้าถึงได้ ถ่ายทอดสดการสอนผ่านระบบ Video Conference ด้วย Microsoft teams และสามารถสร้างและใช้งานห้องเรียนออนไลน์  เช่น การแจกจ่ายเอกสารประกอบการสอน การสนทนา การสร้างกระดานถามตอบ การมอบหมายงานหรือสั่งการบ้าน การตรวจงาน การสร้างแบบทดสอบ และการให้คะแนน เป็นต้น   

 

การใช้ Microsoft teams เพื่อการเรียนการสอน

คุณลักษณะของ Microsoft teams

          Microsoft teams สามารถสร้างทีมเป็นห้องเรียนออนไลน์  (e-classroom) สร้างทีมเป็นกลุ่ม project สร้าง channel เป็นกลุ่มย่อยในทีม สามารถ chat และโพสต์ ได้คล้าย Facebook แลกเปลี่ยนไฟล์ อัพโหลดเอกสารประกอบการสอน สั่งการบ้าน assignment กำหนดวัน/เวลา ส่งและตรวจให้คะแนนได้ สั่ง quiz ที่ตรวจให้คะแนนอัตโนมัติได้  ทำ Video conference ได้ถึง 250 คน สามารถปิดเสียงทุกคนในห้องเรียนได้  ถ่ายทอดสดหน้าจอ หรือเลือกเฉพาะ Apps เช่น ถ่ายทอดเฉพาะ Powerpoint  อนุญาตให้บันทึกการสอนแล้วเก็บไว้ใน Microsoft OneDrive ที่สามารถจำกัดสิทธิได้  สามารถทำ Live event ถ่ายทอดสดทางเดียวที่รองรับได้ถึง 10,000 คน (จำกัดให้สร้างได้ 15 Live events พร้อมๆ กันเท่านั้น คือสามารถสอนด้วย Live events นี้ 15 วิชาพร้อม ๆ กัน จึงเหมาะกับ class ขนาด ใช้ได้ทั้งผ่าน web และติดตั้งแอพลิเคชัน ถ้าติดตั้งแอพลิเคชันสามารถถ่าย conference แบบหน้าชัดหลังเบลอได้  ใช้ MS planner, MS office, MS OneNote และ MS Whiteboard ร่วมกันใน team ได้

คุณธนชาติ วิวัฒนภูติ  บริษัท ลานนาคอม จำกัด ได้บรรยายถึงกระบวนการในการเรียนการสอนในยุคดิจิทัลปัจจุบัน ได้แก่ การเตรียมการเรียนการสอนดิจิทัล การจัดการห้องเรียนดิจิทัล  การมอบหมายงานและแบบทดสอบดิจิทัล  และการวิเคราะห์ห้องเรียนดิจิทัล เป็นต้น

 

การใช้งาน Microsoft Teams

การ Download และเข้าใช้งาน Microsoft Teams ดังนี้

- ทำการดาวน์โหลดโปรแกรม โดยเข้าไปที่ http://teams.microsoft.com/downloads จากนั้นเลือก Download Teams

- ตัวโปรแกรมจะถูกดาวน์โหลดลงมาเก็บไว้บนเครื่อง สามารถClickเพื่อทำการติดตั้งได้ทันที

- เมื่อติดตั้งเสร็จเรียบร้อยแล้ว ตัวโปรแกรม จะแสดงอยู่บน Desktop มีลักษณะเป็นรูปคนสองคนและมีตัว T กำกับอยู่  สามารถ Click เพื่อเข้าสู่ตัวโปรแกรมได้

- การใช้งาน Microsoft teams ทำได้โดยลงชื่อเข้าเว็บไซต์ Office 365 ด้วยชื่อบัญชีของที่ทำงานหรือสถานศึกษาจากนั้นบนหน้า Home ของ Office 365 ให้Click Teams

- หลังจากClick ไอคอน Teams ที่ปรากฏอยู่บน Desktop จะมีหน้าต่างแสดงข้อความต้อนรับ ให้ Click ที่ Continue

- กรอก User name แล้ว Click Next

- กรอก Password แล้ว Click ที่ Sign in

- จะเข้าสู่หน้าโปรแกรม Teams บน Desktop App โดยหน้าแรกของ Teams จะแสดงขึ้นมาตามภาพ

 

การสร้างห้องเรียนใน Microsoft teams classroom มีดังนี้

  • เข้าเวบไซต์ office.com
  • ลงชื่อ (sign in) โดยกรอกข้อมูลชื่อผู้ใช้ และ รหัสผ่าน ของมหาวิทยาลัย
  • เลือก Team
  • เลือก Join or create team
  • เลือก create a team
  • เลือกประเภททีม คือ Class
  • ใส่ชื่อ Team
  • จะปรากฏชื่อห้องเรียนต่าง ๆ

 

การเชิญนักศึกษาเข้าชั้นเรียน

การเพิ่มผู้เรียนเข้าสู่ห้องเรียนรายวิชาเสมือน ผู้สอนสามารถเพิ่มผู้เรียนเข้าสู่ห้องเรียนได้ด้วยตนเอง โดยมีวิธีการดังนี้

  • Click ที่ไอคอน Teams จากนั้นเลือกรายวิชาที่ต้องการ
  • Click เลือกไอคอน จุดสามจุด ... หลังชื่อรายวิชา แล้วเลือกที่ Manage team
  • จากนั้นเลือกไปที่แท็บ Member แล้ว Click ที่ปุ่ม Add member
  • จะปรากฏหน้าจอให้ทำการกรอกอีเมลล์ของผู้เรียนที่ต้องการเพิ่มเข้าห้อง จากนั้น Clickปุ่ม Add ผู้เรียนจะ ถูกเพิ่มเข้ามายังห้องเรียนเรียบร้อย

 

การเชิญนักศึกษาเข้าชั้นเรียนโดยใช้ Team code

วิธีการสร้าง Team Code โดย Owner ของทีม

เปิด  Microsoft 365 / Office 365  ขึ้นมาโดยการ  login  ด้วย  username  ผ่านทาง www.office.com 

จากนั้นเปิดMicrosoft Teams ผ่านหน้าเว็บ browser หรืออาจจะเปิดผ่านทาง Microsoft Teams  Desktop Client

หน้าแรกของ Office 365 / Microsoft 365 หน้าต่างของ Microsoft Teams เมื่อเปิดบริการขึ้นมา

- เลือกทีมที่ตนเองสร้างไว้ที่ต้องการจะสร้าง Team Code จากนั้น กดตรง “More Options” ซึ่งปุ่มมีลักษณะเป็น จุดสามจุด (…) เพื่อเปิดตัวเลือกของทีมขึ้นมา จากนั้นเลือก menu “Manage team”

- เมื่อเข้ามาใน menu การจัดการทีมแล้ว ให้เลือก menu การตั้งค่า หรือ “Settings” 

-  กดเลือกหัวข้อตัวเลือก “Team code” จากนั้น กดปุ่ม “Generate” เพื่อสร้าง code ที่ใช้ในการเชิญเข้าร่วมทีมที่ท่านเลือก

- ระบบจะสร้าง Team code ซึ่งเป็นการผสมกันระหว่างตัวอักษรและตัวเลข พร้อมเมนูย่อย สำหรับจัดการ Team Code ที่สร้างขึ้น เช่น Full Screen: เพื่อเปิด Team Code ขึ้นขนาดใหญ่เต็มจอ สำหรับใช้ในห้องประชุม ห้องเรียน Reset: การ reset รหัส Team Code ใหม่ Remove: การลบ Team Code ที่ใช้งานอยู่ Copy: เพื่อคัดลอก Team Code ไปยัง clipboard เพื่อนำไปใช้ต่อไป

 

ข้อสังเกต

  1. การใช้ Team Code ควรเปิดใช้งานในเวลาที่จำเป็นและปิดการใช้งานเมื่อเชิญสมาชิกเข้าทีมครบแล้ว เพื่อเหตุผลด้านความปลอดภัยในการเข้าถึง ยกเว้นจะเปิดให้เข้าถึงในรูปแบบ public
  2. เมื่อผู้ใช้กดเข้ามาผ่านทาง Team Code จะได้รับสิทธิ์เป็น Member ของทีม
  3. ในการเข้าร่วมทีมผ่าน Team Code จะได้สามารถกดเข้าร่วมได้เลย โดยไม่มีการ verify อื่นๆ จึงจำเป็นต้องระมัดระวังในการใช้งานในกลุ่มที่ต้องการ Private Team เนื่องด้วยลักษณะของกลุ่มและข้อมูลภายใน

 

การสร้างตารางสอน

การนัดสอนเพิ่มเติมผ่าน Video Conference (Teams Meeting) การนัดสอนเพิ่มเติมจากตารางสอนปกติที่ทางมหาวิทยาลัยกำหนดไว้ให้

    -Click ที่ไอคอน Calendar เลือกที่ New meeting

    -ทำการกรอกรายละเอียดห้องเรียนที่สร้างเพิ่มเติม 

    ก. กรอกหัวข้อในการเรียนการสอนที่ต้องการ ข. กำหนด วัน/เวลา ที่ต้องการนัดสอน ค. เลือกรายวิชาที่

ต้องการนัดสอน

- ตารางนัดสอนเพิ่มเติมจะแสดงขึ้นบน Calendar ของผู้สอนและของผู้เรียนทุกคนที่อยู่ในรายวิชาที่เลือก              

- รายวิชาที่นัดสอนออนไลน์เพิ่มเติม จะขึ้นแสดงที่ห้องเรียนในแต่ละรายวิชาเช่นกัน

 

สื่อการเรียนการสอนออนไลน์

สื่อการเรียนการสอนแบบเดิมจะเป็นเอกสาร หรือใช้เครื่องฉายขึ้นจอภาพ  แต่สื่อการเรียนการสอนออนไลน์อาจจัดทำขึ้นในรูปแบบ Powerpoint  หรือใช้กล้องถ่ายวีดีโอแล้ว สามารถนำสื่อที่เตรียมไว้มา upload เข้า Microsoft teams ได้

การสอนออนไลน์ หลังจากที่ระบบจะทำการสร้างห้องเรียนเสมือนในแต่ละรายวิชาให้โดยอัตโนมัติเรียบร้อยแล้ว หากต้องการเข้าทำการสอนออนไลน์ สามารถทำได้ดังนี้

- Click ที่ไอคอน Calendar จะปรากฏรายวิชาทั้งหมดที่ผู้สอนต้องทำการสอนทั้งหมดในภาคการศึกษา ปัจจุบัน โดยจะแสดงวันเวลาที่ตองทำการสอนตามตาราง Calendar ซึ่งเมื่อถึงเวลาสอน ปุ่ม Join จะ แสดงขึ้นมา ให้ทำการ Click Join เพื่อเข้าสู่การสอนออนไลนัในรายวิชาที่ต้องการ

- Click Join Now

- เมื่อเข้าสู่ห้องเรียนออนไลน์ จะปรากฎหน้าจอดังภาพหากต้องการดูรายชื่อผู้เรียนที่เข้าเรียนออนไลน์ ณ ปัจจุบัน สามารถ Click ที่ปุ่มไอคอนรูปคนสองคน ซึ่งอยู่บนแท็บ Toolbar รายชื่อผู้เรียนจะแสดงขึ้นมาทางขวามือของ

หน้าจอ

- ฟังก์ชัน/เมนูสำหรับการใช้งานในการสอนออนไลน์ เมื่อเข้าสู่หน์าจอการสอนออนไลน์เรียบร้อยแล้ว ฟังก์ชันการใช้งานที่สำคัญในการสอนออนไลน์มีดังนี้

ก. เวลาในการใช้งานห้องเรียนออนไลน์ ข. เปิด/ปิดกล้อง  ค. เปิด/ปิดไมโครโฟน ง. แชร์หน้าจอ จ. ยกมือ (หากมีคำถาม) ฉ. แชท (ถาม/ตอบ) ช. รายชื่อผูเข้าร่วมในห้องเรียนออนไลน์ ซ. ออกจากห้องเรียนออนไลน์ ญ. ตั้งค่าอุปกรณเ่ช่น ไมโครโฟน กล้อง จ. ขยายหน้าจอแบบเต็มจอ ฉ. เลือกภาพพื้นหลังที่ต้องการ (หากมีการเปิดกล้อง) ช. ทำเริ่มการบันทึกการเรียนการสอน ซ. ปิดห้องเรียน (ผู้เรียนทุกคนจะถูกบังคับออกจากห้องเรียนอัตโนมัติ)

 

การแชร์หน้าจอ สำหรับผู้สอน

ผู้สอนสามารถทำการแชร์หน้าจอได้ด้วยการกดปุ่ม Share Screen แล้วทำการเลือกแชร์ Desktop หาข้อมูลที่

ต้องการแชร์มีคลิปวิดีโอ หรือมีเสียงให้ทำการ Click ที่ Include system audio ด้วย

การให้สิทธิ์ผู้เรียนเพื่อทำการแชร์หน้าจอในการนำเสนอผลงาน (Make a presenter)

เปิดรายชื่อผู้เรียนในห้องสอนออนไลน์ Click เลือกผู้เรียนที่ต้องการให้นำเสนอ แล้ว Click จุดสามจุด

ด้านหลังชื่อผู้เรียน แล้วกำหนดสิทธิ์ผู้เรียนให้มีสิทธิ์เป็น Presenter โดยเลือกเมนู Make a presenter หลังจากนั้นผู้เรียน จะสามารถแชร์หน้าจอในห้องเรียนออนไลน์ได้  เมื่อผู้เรียนทำการนำเสนอผลงานเสร็จเรียบร้อย สามารถกำหนดสิทธิ์ผู้เรียนกลับเป็น Attendee ดังเดิม ได้ โดย Click ที่จุดสามจุดเช่นเดิม แล้วเลือกที่เมนู Make an attendee

 

การปิดเสียงผู้เรียนทั้งหมดในห้องเรียน (Mute all)

สามารถปิดไมโครโฟนผู้เรียนทั้งหมดในห้องเรียนออนไลน์ได้ โดย  Click ที่ปุ่ม Mute all (แต่ไม่สามารถเปิดไมโครโฟนผู้เรียนได้)

 

การ Download รายชื่อผู้เรียนที่เข้าเรียนในห้องเรียนออนไลน์

          สามารถ Download รายชื่อผู้เรียนที่เข้าเรียนได้โดย  Click  ที่ปุ่ม Download  การ Download  รายชื่อ

ผู้เข้าเรียนต้อง Download ก่อนการจบการเรียนการสอน เนื่องจากหากปิดห้องเรียนไปแล้ว และ ไม่มีคนอยู่ในห้องแล้วเข้ามาใหม่จะไม่สามารถ Download รายชื่อได้

 

การบันทึกการสอน และการดูวิดีโอย้อนหลัง  ในการเรียนการสอน ผู้สอนสามารถบันทึกวิดีโอได้ โดยมีวิธีการดังนี้

- เข้าหน้าการสอนออนไลน์ จากนั้น Click เลือกที่จุดสามจุด... แล้วเลือกที่ Start recording

- ระบบจะโชว์ไอคอนวงกลมสีแดง แสดงให้เห็นว่ากำลังบันทึกอยู่ รวมไปถึงแจ้งเตือนในแท็บด้านบนว่ามีผู้บันทึกวิดีโอ

- เมื่อต้องการหยุดบันทึกวิดีโอ ให้ Click ที่จุดสามจุด ... แล้วเลือก Stop recording

- สามารถเข้าไปที่แท็บ Chat ด้านซ้ายมือ แล้วทำการเลือกการสอนออนไลน์ที่ได้ทำการสอนไปเรียบร้อย แล้วจะเห็นว่ามีวิดีโอแสดงอยู่

หรือเมื่อเริ่มสอนสามารถกดปุ่ม Meet เริ่มสอน หรือเริ่มประชุมได้เลย โดยไม่เข้าผ่านตารางสอนหากจะออก

จากห้อง หรือออกจากห้องประชุมก็ Click รูปโทรศัพท์  Hang up เพื่อออกจากห้องสอน หรือห้องประชุม

 

การ upload สื่อการเรียนการสอนเข้าห้องเรียน

การแชร์เอกสารประกอบการเรียนการสอน ผู้สอนสามารถแชร์เอกสารประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาได้

โดยมีวิธีดังนี้

- Click ที่ไอคอน Teams จากนั้นเลือกรายวิชาที่ต้องการ

- เปิดรายวิชาที่ตองการ แล้ว Click เลือกที่แท็บ Files จากนั้น Click ปุ่ม Upload และเลือกเอกสารที่ต้องการ

- เอกสารที่ทำการอัพโหลด จะปรากฏในหน้าจอด้านล่าง

 

การ upload VDO  เข้า Microsoft stream  ดังนี้

  • Click ปุ่ม ... ที่ด้านซ้ายมือของหน้าต่าง Microsoft team
  • Click เลือก stream
  • Click Microsoft stream
  • Click ที่รูปลูกศรชี้ขึ้น upload video
  • เลือกไฟล์วีดีโอที่จะ upload จากนั้น Click browse หรือลากไฟล์วีดีโอมาวาง
  • จะปรากฏไฟล์วีดีโอที่หน้าหน้าต่าง Microsoft teams ในเมนู Posts

 

การมอบหมายงาน และแบบทดสอบดิจิทัล (Virtual Classroom)

การมอบหมายงานและการสั่งการบ้าน (Teams assignment) สามารถมอบหมายงานหรือสั่งการบ้านให้กับผู้เรียนได้ โดยมีวิธีการดังนี้

 

  • Click ที่ไอคอน Teams จากนั้นเลือกรายวิชาที่ต้องการ

-เลือกแท็บ Assignment และกดปุ่ม Create เพื่อสร้างการบ้านออนไลน์ให้กับผู้เรียน

- เลือกที่ Assignment

-กรอกข้อมูลการบ้านที่ต้องการให้ผู้เรียนทำให้ครบถ้วน แล้ว Click ปุ่ม Assign

  • Click เข้าไปที่การบ้านเพื่อดูการบ้านที่ผู้เรียนส่งมาได้ ก. Turned in : ส่งการบ้านแล้ว ข. Not turned in : ยังไม่ได้ส่งการบ้าน ก. Viewed : เข้าดูการบ้านแล้ว แต่ยังไม่ได้ส่งการบ้าน

Turned in xx hours late : ส่งการบ้านแล้ว แต่ส่งช้า

  • จากนั้น Click ดูการบ้านของผู้เรียนแต่ละคน

 

การตรวจการบ้าน สามารถเข้าดูการบ้านที่ผู้เรียนทำส่งแล้ว ได้ดังนี้

- Click ที่ไอคอน Teams จากนั้นเลือกรายวิชาที่ต้องการ

- เข้าไปยังรายวิชาที่ต้องการ เลือกแท็บ Assignment และเลือกใบงานที่ต้องการตรวจ

- Click เลือกใบงานของผู้เรียนคนที่ต้องการตรวจ

- ทำการตรวจการบ้าน และให้คะแนนตามความเหมาะสม แล้วกดปุ่ม Return

- ใบงานของผู้เรียนคนที่ตรวจเรียบร้อยแล้ว จะแสดงในแท็บ Graded (ซึ่งผู้เรียนจะเห็นข้อความที่ผู้สอนได้ ผู้สอนสามารถ comment และคะแนนที่ได้รับ)

การตรวจแบบทดสอบ/ข้อสอบ สามารถเข้าดูแบบทดสอบ/ข้อสอบที่ผู้เรียนทำส่งเรียบร้อยแล้ว ได้ดังนี้

- Click ที่ไอคอน Teams จากนั้นเลือกรายวิชาที่ต้องการ

- เข้าไปยังรายวิชาที่ต้องการ เลือกแท็บ Assignment และเลือกแบบทดสอบ/ข้อสอบ ที่ต้องการตรวจ

- Click เลือกแบบทดสอบ/ข้อสอบของผู้เรียนคนที่ต้องการตรวจ

- ทำการตรวจแบบทดสอบ โดยในแบบทดสอบจะมีการกำหนดคะแนนไว้ให้เรียบร้อยแล้วตอนสร้าง แบบทดสอบใน Microsoft Forms ส่วนข้อที่ผู้เรียนต้องเขียนคำอธิบาย ผู้สอนต้องเข้าไปตรวจและกรอก คะแนนเพิ่มเติม

- แบบทดสอบ/ข้อสอบของผูเรียนคนที่ตรวจเรียบร้อยแล้ว จะแสดงในแท็บ Graded (ซึ่งผู้เรียนจะเห็น ข้อความที่ผู้สอนได้ comment และคะแนนที่ได้รับ

- สมุดคะแนน Teams Grade ผู้สอนสามารถดูเกรดของผู้เรียนทั้งหมดในรายวิชา โดยแยกเป็นการบ้าน และแบบทดสอบได้ โดยมีวิธีการดังนี้

          - เข้าไปยังรายวิชาที่ต้องการ เลือกแท็บ Grades หน้าจอจะแสดงรายละเอียดคะแนนของผู้เรียนทุกคนใน รายวิชา

-การนำผลคะแนนออกในรูปแบบไฟล์ .CSV ผู้สอนสามารถ Export ผลคะแนนของผู้เรียนได้ โดยมีวิธีการดังนี้

- เข้าไปยังรายวิชาที่ต้องการ เลือกแท็บ Grades หน้าจอจะแสดงรายละเอียดคะแนนของผู้เรียนทุกคนในรายวิชา

- Click ปุ่ม Export to Excel ระบบจะ Export ข้อมูลออกมาในรูปแบบไฟล์ .csv

 

การวิเคราะห์การเรียนการสอนในห้องเรียนเสมือน (Teams Insights)

การวิเคราะห์ข้อมูลการเรียนการสอน ในการเรียนการสอนผ่าน Microsoft Teams สามารถทำการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนการสอนได้  โดยการ ใช้ Apps เพิ่มเติมที่เรียกว่า Insight เข้ามาช่วยในการ

วิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งมีวิธีการใช้งานดังนี้

- Click ที่ไอคอน Teams จากนั้นเลือกรายวิชาที่ต้องการ

- เพิ่ม Apps “Insight” เข้าสู่ห้องเรียนในรายวิชา โดยเปิดรายวิชาที่ต้องการขึ้นมา แล้ว Click ปุ่ม + ในแท็บที่อยู่ด้านบนของหน้าจอ

- ค้นหา Apps ชื่อ “Insight” จากนั้น Click เลือกที่ตัว Apps Insight

- กดปุ่ม Add เพื่อเพิ่ม Insight เข้าสู่หน้ารายวิชา

- Click Save

     

การนัดสอนเพิ่มเติมผ่าน Video Conference (Teams Meeting) การนัดสอนเพิ่มเติมจากตารางสอนปกติที่ทางมหาวิทยาลัยกำหนดไว้ให้ Click ที่ไอคอน Calendar เลือกที่ New meeting

  • ทำการกรอกรายละเอียดห้องเรียนที่สร้างเพิ่มเติม

ก. กรอกหัวข้อในการเรียนการสอนที่ต้องการ ข. กำหนด วัน/เวลา ที่ต้องการนัดสอน เลือกรายวิชาที่ต้องการนัดสอน

- ตารางนัดสอนเพิ่มเติมจะแสดงขึ้นบน Calendar ของผู้สอนและของผู้เรียนทุกคนที่อยู่ในรายวิชาที่เลือก

- รายวิชาที่นัดสอนออนไลน์เพิ่มเติม จะขึ้นแสดงที่ห้องเรียนในแต่ละรายวิชาเช่นกัน

 

 

 

 

 

 

 

 

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1123
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
Data Science คืออะไร และนำมาใช้ประโยชน์อย่างไร » Data Science คืออะไร และนำมาใช้ประโยชน์อย่างไร
Data Science หรือ วิทยาการข้อมูล หมายถึง การนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ โดยครอบคลุมตั้งแต่ขั้นตอนการเก็บข้อมูล (Collect) การจัดการข้อมูล (Manage) การวิเคราะห์ข้อมูล (Analyze) ไปจนถึงขั้นตอนการนำข้อมูลมาช...
Data Science  วิทยาการข้อมูล     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ธวัชชัย เพชรธาราทิพย์  วันที่เขียน 24/4/2567 13:27:01  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 25/4/2567 0:40:03   เปิดอ่าน 8  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5 มหาวิทยาลัยแม่โจ้
การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5 ในวันที่ 28 มีนาคม 2567 เวลา 08.00 - 17.00 น. ณ ห้องเอกภพวิทยา ชั้น G อาคารจุฬาภรณ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งจัดโดย...
ChatGPT  การประชุมวิชาการ  เทคโนโลยี  วิทยาศาสตร์  สิ่งแวดล้อม     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 11/4/2567 15:19:10  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 24/4/2567 9:34:29   เปิดอ่าน 24  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าอบรม สัมมนาหรือประชุมวิชาการ » รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมและนำเสนอผลงาน การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5
รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมและนำเสนอผลงาน การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5
รายงานสรุปเนื้อหา     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิริพร สมุทรวชิรวงษ์  วันที่เขียน 2/4/2567 16:14:15  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 24/4/2567 17:16:27   เปิดอ่าน 42  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง